- ข่าวสารโรคมะเร็ง
- ■ อาการของโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก
- ■ การวินิจฉัยมะเร็งต่อมลูกหมาก
- ■ ขั้นตอนทางการแพทย์สำหรับมะเร็งต่อมลูกหมาก
- ■ เรื่องราวของผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมาก
- ■ ระยะของมะเร็งต่อมลูกหมาก
- ■ ผลการรายงานโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก
จากข้อมูลสถิติที่กรมอนามัยโลกระบุ ในปี พ.ศ. 2557 ประเทศไทยพบผู้ที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งต่อมลูกหมากรายใหม่ถึง 1,186 ราย ในหลายปีที่ผ่านมาการระบาดของมะเร็งต่อมลูกหมากและอัตราการเสียชีวิตล้วนเพิ่มสูงขึ้น ถ้าอย่างนั้นมะเร็งต่อมลูกหมากสามารถรักษาได้ไหม? การรักษาแบบบูรนาการที่มีผลข้างเคียงต่ำ บาดแผลเล็ก ผู้ป่วยฟื้นตัวเร็ว สามารถช่วยให้ผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากหลีกเลี่ยงการผ่าตัด และหลีกเลี่ยงความทรมานจากการรักษาในแบบเก่า และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการมีชีวิตอยู่ของผู้ป่วยให้ได้นานขึ้นอีกด้วย
หากคุณถูกตรวจพบว่าเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก พวกเราพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือ สามารถจองคิว ออนไลน์ หรือติดต่อจองคิวได้ที่ : 0610367888
การแบ่งประเภทของมะเร็งต่อมลูกหมาก
องค์การอนามัยโลกได้แบ่งมะเร็งต่อมลูกหมากออกเป็นประเภทใหญ่ๆได้ดังนี้ : Adenocarcinoma , Ductal adenocarcinoma , Urinary tract cancer , Squamous cell carcinoma , Adenosquamous carcinoma โดยส่วนใหญ่จะเป็น Adenocarcinoma 95%ขึ้นไป ดังนั้น ทุกครั้งที่เราพูดถึงมะเร็งต่อมลูกหมากจะหมายถึงประเภท Adenocarcinoma
การอธิบายเกี่ยวกับผลการรายงานทางการแพทย์ของมะเร็งต่อมลูกหมาก
ระดับพยาธิสภาพของมะเร็งต่อมลูกหมาก-แบ่งตามเกณฑ์ Gleason
มะเร็งต่อมลูกหมากและค่า SPA ตัวบ่งชี้ระดับ
หากท่านมีปัญหาในรายงานผลการตรวจ สามารถสอบถามออนไลน์หรือสายด่วนเข้ามาสอบถามกับผู้เชี่ยวชาญได้ที่ :0610367888 พวกเราพร้อมไขข้อข้องใจให้ทุกท่าน
อัตราการรอดชีวิตจากมะเร็งต่อมลูกหมากในช่วงระยะเวลา 5 ปีมีดังนี้ :
มะเร็งต่อมลูกหมากระยะที่ 1, 90-95%
มะเร็งต่อมลูกหมากระยะที่ 2, 60–70%
มะเร็งต่อมลูกหมากระยะที่ 3, 30–40%
มะเร็งต่อมลูกหมากระยะที่ 4, น้อยกว่า 20%
มะเร็งต่อมลูกหมากในระยะเริ่มต้นจะยังไม่มีอาการบ่งชี้ใดๆ แม้ว่าบางครั้งที่รู้สึกไม่สบาย ก็ไม่เพียงพอที่จะทำให้ผู้ป่วยสังเกตเห็น เพียงแต่จะตรวจพบได้ก็ต่อเมื่อทำการตรวจผ่านทางทวารหนักเท่านั้น ดังนั้น 80% ของผู้ป่วยจะรู้ตัวก็เป็นในระยะที่ลุกลามไปแล้ว เมื่อถึงจุดนี้ก็สายเกินไปแล้ว ผลการรักษาไม่มีประสิทธิภาพ จะเห็นได้ดังนี้ว่า การตรวจพบมะเร็งต่อมลูกหมากในระยะเริ่มต้นถือว่าสำคัญมาก
วิธีการรักษามะเร็งต่อมลูกหมาก
ความเจ็บปวดจากการรักษาในแบบเก่า
การผ่าตัด : บาดแผลมีขนาดใหญ่ ความเสี่ยงสูง เหมาะสำหรับมะเร็งต่อมลูกหมากในระยะแรก ทำให้เส้นประสาทบริเวณที่ทำการผ่าตัดได้รับการถูกทำลาย อาจทำให้อวัยวะภายในถูกทำลายตามไปด้วย ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปัสสาวะไม่สุด และโรคแทรกซ้อนต่างๆ มีผลกระทบต่อปัญหาชีวิตคู่ของผู้ป่วย กระทั่งก่อให้เกิดการเป็นหมัน หรือมีบุตรยาก ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยต่ำลง
การให้ยาเคมีบำบัด : ผลข้างเคียงสูง เช่น ระบบภูมิคุ้มกันต่ำ ผมร่วง อาเจียนเป็นต้น อีกทั้งการให้ยาเคมีบำบัดจะเหมาะกับผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากระยะแรกที่มีความเสี่ยงต่ำ แต่สำหรับผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากระยะลุกลามนั้นอาจก่อให้เกิดผลที่ไม่อาจคาดคิดได้
เทคโนโลยีการรักษามะเร็งต่อมลูกหมากแบบใหม่ เพิ่มประสิทธิภาพการมีชีวิตอยู่
การรักษาแบบบูรนาการ : บาดแผลมีขนาด 2-3mm. ผลข้างเคียงต่ำ เจ็บปวดน้อย
เทคนิคแบบเฉพาะจุด : บาดแผลขนาด 1 -2 m.m. ใช้ยาต้านมะเร็งเข้าไปจู่โจมก้อนมะเร็งโดยตรง ความเข้มข้นของยามีมากกว่าการให้ยาเคมีบำบัดทางสายน้ำเกลือสูงถึง 2-8เท่า ผลข้างเคียงต่ำ มีความแม่นยำในการทำลายเซลล์มะเร็ง
เทคนิคการใช้ความเย็น : บาดแผลเล็ก การรักษาตรงจุดเฉพาะที่ กระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย ลดภาวการณ์กลับมาเป็นซ้ำของมะเร็งต่อมลูกหมาก
เทคนิคมีดนาโน : เจาะเข้าสลายเซลล์มะเร็งด้วยขั้วไฟฟ้าความดันสูง เข้าทำลายเซลล์มะเร็งได้อย่างแม่นยำ รักษาระบบเส้นประสาท และระบบหลอดเลือด เสริมระบบภูมิคุ้มกัน ทำลายเซลล์มะเร็งได้อย่างรวดเร็ว ป้องกันโรคแทรกซ้อน
เทคนิคแบบบูรนาการแพทย์แผนจีนและตะวันตก
เทคนิคแบบบูรนาการแพทย์แผนจีนและตะวันตก : ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา ลดภาวะผลข้างเคียงจากการรักษา ลดภาวะแทรกซ้อน ฟื้นตัวเร็ว เทคนิคแบบบูรนาการมีประสิทธิภาพเข้าทำลายเซลล์มะเร็ง เพิ่มคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้ป่วย
เทคโนโลยีในการรักษามะเร็งต่อมลูกหมากเพิ่มเติม
หากอยากทราบว่าการรักษาแบบใดเหมาะสมกับคุณ พวกเราพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือ สามารถจองคิว ออนไลน์ หรือติดต่อจองคิวได้ที่ : 0610367888
ทีมแพทย์ MDT พร้อมให้คำปรึกษากับผู้ที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งปอด วางแผนการรักษาเฉพาะบุคคล
5ประการสำคัญในการรักษามะเร็งปอดของ รพ.มะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวแสตมฟอร์ด
มาตรฐานสถานพยาบาลระดับสากล JCI
เทคโนโลยีการรักษาโรคมะเร็งชั้นนำของโลก
ทีมแพทย์ MDT ผู้มีประสบการณ์สูง
การบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพสูง
สภาพแวดล้อมของรพ.ที่อบอุ่นและสบาย
การดูแลผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากและอาหารการกิน
ผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากหลังทำการรักษาควรระวังเรื่องอาหารการกินอะไรบ้าง
การดูแลผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากเรื่องอาหาร
ความรู้ทั่วไปในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากหลังทำการรักษา
ติดตามข้อมูลข่าวสารและเกร็ดความรู้ดีๆจากเราได้ที่
หากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
*หมายเหตุ : ผลลัพธ์จะขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล
*ประกาศ : การผ่าตัดจะให้ผลลัพธ์ที่ค่อนข้างดีต่อมะเร็งระยะแรก ที่เป็นมะเร็งชนิดเป็นก้อน (Solid Tumor) แต่อาจจะไม่เหมาะในการใช้กับมะเร็งระยะสุดท้าย สำหรับผู้ป่วยระยะกลาง ไปจนถึงระยะสุดท้ายที่มีภูมิต้านทานในร่างกายต่ำ เทคโนโลยีแบบบาดแผลเล็ก บูรณาการร่วมกับการคีโมและการฉายแสง จะช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานและลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับผลลัพธ์ที่ดีมากยิ่งขึ้น