- ข่าวสารโรคมะเร็ง
- ■ มะเร็งรังไข่
- ■ อาการของโรคมะเร็งรังไข่
- ■ การวินิจฉัยมะเร็งรังไข่
- ■ ขั้นตอนทางการแพทย์สำหรับมะเร็งรังไข่
- ■ เรื่องราวผู้ป่วยมะเร็งรังไข่
- ■ ผลการรายงานโรคมะเร็งรังไข่
ตามข้อมูลของสมาคมมะเร็งแห่งชาติสหรัฐอเมริกา อัตราการรอดชีวิตจากมะเร็งรังไข่ในช่วงระยะเวลา 5 ปีมีดังนี้ :
มะเร็งรังไข่ระยะที่ 1 :85% - 95%
มะเร็งรังไข่ระยะที่ 2 :70% - 73%
มะเร็งรังไข่ระยะที่ 3 :39%
มะเร็งรังไข่ระยะที่ 4 :17%
จะเห็นได้ว่า ระยะของโรงมะเร็งมีความสัมพันธ์กับการมีชีวิตอยู่ของผู้ป่วย เมื่อทราบผลและทำการรักษาอย่างรวดเร็วอัตราการมีชีวิตอยู่ก็มีสูง หากมีการแบ่งระยะของมะเร็งได้อย่างชัดเจนแล้ว แพทย์ผู้ทำการรักษาก็สามารถว่างแผนการรักษาได้อย่างแม่นยำและเหมาะสมกับระยะของโรค การแบ่งระยะของมะเร็งมะเร็งรังไข่ที่ชัดเจนสามารถทำได้อย่างไร?
การแบ่งระยะของมะเร็งแบบ TNM
การแบ่งระยะโรคแบบ TNM เป็นระบบในการพิจารณาว่ามะเร็งอยู่ในขั้นไหน หรือ Staging ที่มีการใช้วัดค่าและแบ่งระยะของมะเร็งมากที่สุด
T หมายถึง Tumor คือ ขนาดและตำแหน่งของก้อนมะเร็ง โดยใช้สัญลักษณ์ T1~T4 บ่งบอกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของก้อนมะเร็ง
N หรือ Node (Regional node) คือ ต่อมน้ำเหลืองที่อยู่ใกล้กับก้อนมะเร็ง โดยใช้สัญลักษณ์ N0~N2 บ่งบอกความรุนแรงของโรคจากน้อยไปหามาก
M หรือ Metastasis (Distant Metastasis) คือ การแพร่กระจายของโรคมะเร็งทางกระแสโลหิตไปยังอวัยวะอื่นๆ โดยใช้สัญลักษณ์ M0~M1 บ่งบอกว่ามีโรคมะเร็งแพร่กระจายแล้ว
ตามที่ได้มีการแบ่งระยะของมะเร็งตามระบบ TNM นั้น สามารถแบ่งระยะของมะร็งได้อย่างชัดเจนดังนี้ :
(ข้อมูลข้างต้นเป็นเพียงการอ้างอิงเท่านั้นและไม่สามารถยึดเป็นแนวทางหลักในการรักษาได้)
มะเร็งรังไข่ระยะ 0 : Tis(มะเร็งที่แหล่งกำเนิด)ระยะ N0 ,ระยะ M0
แนวทางรักษาสำหรับระยะ 0 :การทำการผ่าตัด
มะเร็งรังไข่ระยะที่ 1 : ระยะ T1~T2 ,ระยะN0,ระยะM0 --ก้อนมะเร็งยังคงอยู่ภายในรังไข่
แนวทางรักษาสำหรับระยะที่ 1 :การผ่าตัด,เทคนิคแบบเฉพาะจุด,เทคนิคการใช้ความเย็น,เทคนิคแบบบูรณาการแพทย์แผนจีนและตะวันตก,เทคนิคภูมิคุ้มกัน
มะเร็งรังไข่ระยะที่ 2 :ระยะ T2~T3,ระยะ N0,ระยะ M0 —— เนื้องอกมีการขยายไปยังเนื้อเยื่อบริเวณใกล้เคียงแต่ยังคงจำกัดอยู่ที่โพรงกระดูกเชิงกราน
แนวทางรักษาสำหรับระยะที่ 2 :การผ่าตัด,เทคนิคแบบเฉพาะจุด,เทคนิคการใช้ความเย็น,เทคนิคแบบบูรณาการแพทย์แผนจีนและตะวันตก,เทคนิคภูมิคุ้มกัน
มะเร็งรังไข่ระยะที่ 3 :เป็นระยะ T ใดก็ได้,เป็นระยะ N ใดก็ได้, ระยะ M0——เนื้องอกมีการลุกลามไปยังช่องท้องหรือได้มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้ำเหลือง
แนวทางรักษาสำหรับระยะที่ 3 :เทคนิคแบบเฉพาะจุด,เทคนิคมีดนาโน,เทคนิคการใช้ความเย็น, ,เทคนิคการใช้ความร้อน,เทคนิคคีโมสีเขียว,เทคนิคการฟื้นฟูด้วยยีนแบบเฉพาะจุด,เทคนิคแบบบูรณาการแพทย์แผนจีนและตะวันตก,เทคนิคภูมิคุ้มกัน
มะเร็งรังไข่ระยะที่ 4 :เป็นระยะ T ใดก็ได้,เป็นระยะ N ใดก็ได้, ระยะ M1 —— ระยะนี้จะมีการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งไปทั่วร่างกาย เช่น บริเวณตับ ปอดเป็นต้น
แนวทางรักษาสำหรับระยะที่ 4 :เทคนิคแบบเฉพาะจุด,เทคนิคมีดนาโน,เทคนิคการใช้ความเย็น, เทคนิคการใช้ความร้อน,เทคนิคคีโมสีเขียว,เทคนิคการฟื้นฟูด้วยยีนแบบเฉพาะจุด,เทคนิคแบบบูรณาการแพทย์แผนจีนและตะวันตก,เทคนิคภูมิคุ้มกัน
มะเร็งรังไข่ระยะที่มีการกลับมาเป็นซ้ำ : ลักษณะเด่นของมะเร็งรังไข่ที่มีการกลับมาเป็นซ้ำคือจะมีการกลับมาเป็นซ้ำในทุกส่วนของร่างกาย มักจะพบได้บ่อยตรงบริเวณช่องคลอดหรือส่วนอื่น ๆ ของกระดูกเชิงกราน เช่น ตับ ม้าม ไต ต่อมหมวกไต ปอด ประจันอก เยื่อบุช่องท้อง ต่อมน้ำเหลืองเป็นต้น
แนวทางรักษาเมื่อมีการกลับมาเป็นซ้ำ : เทคนิคแบบเฉพาะจุด,เทคนิคมีดนาโน,เทคนิคการใช้ความเย็น ,เทคนิคการใช้ความร้อน,เทคนิคภูมิคุ้มกัน,เทคนิคการฟื้นฟูด้วยยีนแบบเฉพาะจุด,เทคนิคแบบบูรณาการแพทย์แผนจีนและตะวันตก
ระยะของมะเร็งรังไข่ที่ต่างกัน ขั้นตอนการรักษาก็แตกต่างกัน ที่รพ.มะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวแสตมฟอร์ด เรามีทีมแพทย์ MDT ที่คอยวินิจฉัยแนวทางการรักษาให้กับผู้ป่วยตามสภาพอาการระยะ ขนาดและบริเวณที่เป็นมะเร็ง เพื่อให้เหมาะสมตามสภาพของผู้ป่วยแต่ละรายและยังช่วยให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงการผ่าตัดและความทรมานจากการรักษาในแบบเก่า และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการมีรักษาของผู้ป่วยให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้นอีกด้วย
ติดตามข้อมูลข่าวสารและเกร็ดความรู้ดีๆจากเราได้ที่
หากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
*หมายเหตุ : ผลลัพธ์จะขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล
*ประกาศ : การผ่าตัดจะให้ผลลัพธ์ที่ค่อนข้างดีต่อมะเร็งระยะแรก ที่เป็นมะเร็งชนิดเป็นก้อน (Solid Tumor) แต่อาจจะไม่เหมาะในการใช้กับมะเร็งระยะสุดท้าย สำหรับผู้ป่วยระยะกลาง ไปจนถึงระยะสุดท้ายที่มีภูมิต้านทานในร่างกายต่ำ เทคโนโลยีแบบบาดแผลเล็ก บูรณาการร่วมกับการคีโมและการฉายแสง จะช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานและลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับผลลัพธ์ที่ดีมากยิ่งขึ้น